ค้นหา  ·  หัวข้อเรื่อง  ·  เข้าระบบ  ·  เผยแพร่เรื่อง
                      สมัครสมาชิก  

หนังสือใหม่

ผลงานล่าสุด
ของ อ.ฟารีด เฟ็นดี้


อีซีกุโบร์



พิธีกรรมยอดฮิตติดอันดับของเมืองไทย อิซีกุโบร์ พิธีกรรมเซ่นสังเวยดวงวิญญาณ วิเคราะห์เจาะลึกถึงที่มาพร้อมวิเคราะห์หลักฐาน คนกินข้าว ผีกินบุญ จริงหรือ ?

อุศ็อลลี



เหนียตและการตะลัฟฟุซแตกต่างกันอย่างไร แสดงที่มาของการกล่าวอุศ็อลลี แจงเหตุที่มาและบทวิเคราะห์ทางวิชาการ

ซัยยิดินา



การเพิ่มซัยยิดินาในศอลาวาต เป็นฮะดีษศอเฮียะห์จริงหรือ แจงเหตุที่มาและบทวิเคราะห์ทางวิชาการ

การยกมือตั๊กบีร
ระหว่างสองสุญูด




การยกมือตั๊กบีรระหว่างสองสุญูด เป็นซุนนะห์จริงหรือ วิเคราะห์หลักฐานที่กล่าวกันว่าท่านนบีกระทำเป็นบางครั้งจริงหรือไม่

วะบิฮัมดิฮี



หลักฐานการอ่านวะบิฮัมดิฮีในรุกัวอ์และสุญูดถูกต้องหรือ เชคอัลบานีว่าเป็นฮะดีษ ศอเฮียะห์จริงหรือไม่ พิสูจน์หลักฐานตามศาสตร์ของฮะดีษ เพื่อคุณจะได้มีคำตอบแก่ตัวเอ

วาญิบต้องศอลาวาต
ในตะชะฮุดแรกหรือ




ชี้แจงมุมมองของเชคอัลบานี ที่ตกทอดสู่เมืองไทย ถ้าไม่อ่านศอลาวาตในตะชะฮ์ฮุดแรกละหมาดใช้ไม่ได้ หากลืมก็ต้องสุญูดซะฮ์วี จริงหรือ อ่านวิเคราะห์หลักฐานทางวิชาการ เพื่อคุณจะได้มีคำตอบแก่ตัวเอง

รู้ทันชีอะฮ์



เผยกลลวงของชีอะห์ในการดึงมุสลิมออกจากอิสลาม
ตอบโต้ข้อกล่าวหา,ใส่ร้าย,ประณามศอฮาบะห์

ติดต่อและสั่งซื้อได้ที่
คุณยะอ์กู๊บ น้อยนงค์เยาว์
084 0004619


รวมวิดีโอ

>>..ดูทั้งหมด..<<


เมนูหลัก

 บริการหลัก
หน้าแรก
ถามตอบ
ติดต่อสอบถาม
แนะนำบอกต่อ
ค้นหา
แสดงสถิติ
ผลสำรวจ
ยอดฮิตติดอันดับ
 บริการสมาชิก
รายนามสมาชิก
 บริการข่าวสาร
 บริการอื่นๆ
ดาวน์โหลด
วิดีโอบรรยาย
ห้องแสดงภาพ
ฮะดีษแปลไทย


บทความรายวิชา








วิเคราะห์ข้อขัดแย้ง

  ศอฮาบะห์กางเต้นท์อ่านอัลกุรอานบนกุโบร์หรือ
  อัลกอมะห์กับแม่
  อิสลามเปลี่ยนวันใหม่ตอนมักริบไม่ใช่เที่ยงคืน
  เฝ้ากุโบร์ไม่ฮะราม..หรือ
  วิพากษ์หลักฐานเรื่องทำกุรบานให้คนตาย
  ถือศีลอดสิบวันแรกเดือนซุ้ลฮิจญะห์เป็นฮะดีษศอเฮียะห์หรือไม่
  วันที่ 9 ซุ้ลฮิจญะห์ที่ไม่มีอะรอฟะห์
  มีหลักฐานห้ามไหม
  กล่าวเท็จต่อท่านนบีว่า ท่านอ่านอัลกุรอานในกุโบร
  วิพากษ์หลักฐานการอ่านอัลกุรอานที่กุโบร์ ตอนที่ 3 คำรายงานที่ถูกต้องจากอิบนิอุมัร

[ดูเรื่องทั้งหมด]

บทความทั่วไป

  ทำบุญประเทศ
  เมื่อโลกหยุดหมุน
  ผีแม่ซื้อ
  ประเพณีการแต่งงานของมุสลิมภาคใต้
  อาซูรอ 10 มุฮัรรอม กับตำนานกวนซุฆอ
  เมาตาคือใคร
  ...ทาส... ตอนที่ 2
  ...ทาส... ตอนที่ 1
  เผยอะกีดะห์กลุ่มดะอ์วะห์ ตอนที่ 2
  เผยอะกีดะห์กลุ่มดะอ์วะห์ ตอนที่ 1

[ดูเรื่องทั้งหมด]

เหมือนหรือต่าง

ภาพเปรียบเทียบระหว่างพิธีการทรมานตนเองของชาวชีอะฮ์ อิหม่าม 12 ในวันที่ 10 มุฮัรรอมของทุกปี กับม้าทรงของศาลเจ้าสามกอง ในงานประจำปี จ.ภูเก็ต


ชีอะฮ์อิหม่ามสิบสอง

ม้าทรงศาลเจ้าสามกอง

ชีอะฮ์อิหม่ามสิบสอง

ม้าทรงศาลเจ้าสามกอง

ชีอะฮ์อิหม่ามสิบสอง


เวบลิ้งค์

มรดกอิสลาม
อัซซุนนะห์
ซุนนะห์ไซเบอร์
ชมรมวะรอซะตุซซุนนะฮฺ แนวร่วมมุสลิมต่อต้านรอฟิเฏาะ - ร่วมต่อต้านวันนี้ หรือจะรอให้สายเกินไป



ตอนที่ 23 โครงสร้างวิชาฮะดีษ




แนวทางการศึกษาวิชาฮะดีษจำแนกไว้เป็นสองหมวดใหญ่ๆ ดังนี้คือ



1 – อิลมุนริวายะห์ رواية หมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวที่มาจากนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ไม่ว่าจะเป็นคำพูด,การกระทำ,การยอมรับ จริยธรรม รวมถึงคุณลักษณะของท่าน และยังได้รวมถึงคำพูด,การกระทำของศอฮาบะห์ และตาบีอีนด้วย นักวิชาการที่รากฐานวิชาฮะดีษในหมวดนี้คือ ท่านอิหม่ามมูฮัมหมัด บุตรของมุสลิม บุตรของ ซิฮาบุสซะฮ์รีย์ เสียชวิตในปีที่ 124 ฮิจเราะห์ศักราช



2 – อิลมุนดิรอยะห์ دراية หมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับผู้รายงาน ,สายรายงาน และเนื้อหา (ตัวบท) ของฮะดีษ และการจำแนกฮะดีษออกเป็นประเภทต่างๆ นักวิชาการที่วางรากฐานวิชาฮะดีษในหมวดนี้คือ ท่านอบูมูฮัมหมัด อัลฮุเซน บุตรของ อับดุลเราะห์มาน อัลรอมาฮุรมุซีย์ (1) เสียชีวิตในปีที่ 360 ฮิจเราะห์ศักราช


และเนื่องจากอิลมุนดิรอยะห์เป็นกระบวนการศึกษาในรายละเอียดขั้นตอนการรายงาน, สภาพการรายงาน,ประวัติผู้รายงาน, คำรายงาน, สาเหตุและประวัติการเกิดฮะดีษ,รวมถึงศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวาง ฉะนั้นผู้คนส่วนใหญ่จึงขนานนามศาสตร์นี้ว่า علوم الحديث (อุลูมุลฮะดีษ) หรือ مصطلح الحديث (มุศตอละฮุลฮะดีษ)

โครงสร้างการพิจารณาฮะดีษ

ฮะดีษถูกจำแนกประเภทตามการพิจารณาในแง่มุมต่างๆ ดังนี้

1 – พิจารณาถึงแหล่งที่มาตามการอ้างอิง เช่น กุดซีย์ – มัรฟัวอ์ – เมากูฟ – มั๊กตัวอ์
2 – พิจารณาถึงจำนวนผู้รายงาน จำแนกเป็น 2 กลุ่มคือ ฮะดีษที่มีผู้รายงานจำนวนมาก เรียกว่า มุตะวาติร และฮะดีษที่มีผู้รายงานจำนวนน้อยเรียกว่า อาฮาด เช่น มัซฮูร – อะซีซ - ฆ่อรีบ
3 – พิจารณาถึงสถานภาพของฮะดีษ คือสายรายงาน, ตัวผู้รายงาน,เนื้อหาของฮะดีษ ซึ่งแยกเป็นสองกลุ่มคือ มักบู้ล (ยอมรับ) และ มัรดู๊ด (ปฎิเสธ)

ฮะดีษในกลุ่มมั๊กบูล (ยอมรับ) จำแนกเป็นหมวดย่อยได้แก่ ศอเฮียะห์ (ลิซาติฮี-ลิฆอยริฮี) ฮะซัน (ลิซาติฮี-ลิฆอยริฮี) ส่วนฮะดีษในกลุ่มมัรดู๊ด (ปฏิเสธ) จำแนกเป็นหมวดย่อยได้แก่ ฏออีฟ (คือฮะดีษที่มีข้อบกพร่องซึ่งมีจำนวนมากกว่า 50 ชนิด) และฮะดีษเมาดั๊วอ์ (ฮะดีษเก๊)

...................................................................................................................................................................
(1) คำว่า รอมาฮุรมุซีย์ เป็นชื่อเมือง มาจากภาษาเปอร์เซียประกอบด้วยสองคำคือ รอม และฮุรมุซ ฉะนั้นคำว่า รอมาฮุรมุซีย์ จึงหมายถึง นักวิชาการฮะดีษจากเมืองรอม-ฮุรมุซ ซึ่งในที่นี้หมายถึง ท่านอบูมูฮัมหมัด อัลฮุเซน บุตรของ อับดุลรอเราะห์มาน เช่นเดียวกับคำว่า บุคคอรี ซึ่งมาจากชื่อเมืองคือ บุคอร ฉะนั้นคำว่า บุคคอรี จึงหมายถึงนักวิชาการฮะดีษจากเมืองบุคอร นั่นเอง









สงวนลิขสิทธิ์โดย © อ.ฟารีด เฟ็นดี้ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2006-08-29 (1999 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]