ค้นหา  ·  หัวข้อเรื่อง  ·  เข้าระบบ  ·  เผยแพร่เรื่อง
                      สมัครสมาชิก  

หนังสือใหม่

ผลงานล่าสุด
ของ อ.ฟารีด เฟ็นดี้


อีซีกุโบร์



พิธีกรรมยอดฮิตติดอันดับของเมืองไทย อิซีกุโบร์ พิธีกรรมเซ่นสังเวยดวงวิญญาณ วิเคราะห์เจาะลึกถึงที่มาพร้อมวิเคราะห์หลักฐาน คนกินข้าว ผีกินบุญ จริงหรือ ?

อุศ็อลลี



เหนียตและการตะลัฟฟุซแตกต่างกันอย่างไร แสดงที่มาของการกล่าวอุศ็อลลี แจงเหตุที่มาและบทวิเคราะห์ทางวิชาการ

ซัยยิดินา



การเพิ่มซัยยิดินาในศอลาวาต เป็นฮะดีษศอเฮียะห์จริงหรือ แจงเหตุที่มาและบทวิเคราะห์ทางวิชาการ

การยกมือตั๊กบีร
ระหว่างสองสุญูด




การยกมือตั๊กบีรระหว่างสองสุญูด เป็นซุนนะห์จริงหรือ วิเคราะห์หลักฐานที่กล่าวกันว่าท่านนบีกระทำเป็นบางครั้งจริงหรือไม่

วะบิฮัมดิฮี



หลักฐานการอ่านวะบิฮัมดิฮีในรุกัวอ์และสุญูดถูกต้องหรือ เชคอัลบานีว่าเป็นฮะดีษ ศอเฮียะห์จริงหรือไม่ พิสูจน์หลักฐานตามศาสตร์ของฮะดีษ เพื่อคุณจะได้มีคำตอบแก่ตัวเอ

วาญิบต้องศอลาวาต
ในตะชะฮุดแรกหรือ




ชี้แจงมุมมองของเชคอัลบานี ที่ตกทอดสู่เมืองไทย ถ้าไม่อ่านศอลาวาตในตะชะฮ์ฮุดแรกละหมาดใช้ไม่ได้ หากลืมก็ต้องสุญูดซะฮ์วี จริงหรือ อ่านวิเคราะห์หลักฐานทางวิชาการ เพื่อคุณจะได้มีคำตอบแก่ตัวเอง

รู้ทันชีอะฮ์



เผยกลลวงของชีอะห์ในการดึงมุสลิมออกจากอิสลาม
ตอบโต้ข้อกล่าวหา,ใส่ร้าย,ประณามศอฮาบะห์

ติดต่อและสั่งซื้อได้ที่
คุณยะอ์กู๊บ น้อยนงค์เยาว์
084 0004619


รวมวิดีโอ

>>..ดูทั้งหมด..<<


เมนูหลัก

 บริการหลัก
หน้าแรก
ถามตอบ
ติดต่อสอบถาม
แนะนำบอกต่อ
ค้นหา
แสดงสถิติ
ผลสำรวจ
ยอดฮิตติดอันดับ
 บริการสมาชิก
รายนามสมาชิก
 บริการข่าวสาร
 บริการอื่นๆ
ดาวน์โหลด
วิดีโอบรรยาย
ห้องแสดงภาพ
ฮะดีษแปลไทย


บทความรายวิชา








วิเคราะห์ข้อขัดแย้ง

  ศอฮาบะห์กางเต้นท์อ่านอัลกุรอานบนกุโบร์หรือ
  อัลกอมะห์กับแม่
  อิสลามเปลี่ยนวันใหม่ตอนมักริบไม่ใช่เที่ยงคืน
  เฝ้ากุโบร์ไม่ฮะราม..หรือ
  วิพากษ์หลักฐานเรื่องทำกุรบานให้คนตาย
  ถือศีลอดสิบวันแรกเดือนซุ้ลฮิจญะห์เป็นฮะดีษศอเฮียะห์หรือไม่
  วันที่ 9 ซุ้ลฮิจญะห์ที่ไม่มีอะรอฟะห์
  มีหลักฐานห้ามไหม
  กล่าวเท็จต่อท่านนบีว่า ท่านอ่านอัลกุรอานในกุโบร
  วิพากษ์หลักฐานการอ่านอัลกุรอานที่กุโบร์ ตอนที่ 3 คำรายงานที่ถูกต้องจากอิบนิอุมัร

[ดูเรื่องทั้งหมด]

บทความทั่วไป

  ทำบุญประเทศ
  เมื่อโลกหยุดหมุน
  ผีแม่ซื้อ
  ประเพณีการแต่งงานของมุสลิมภาคใต้
  อาซูรอ 10 มุฮัรรอม กับตำนานกวนซุฆอ
  เมาตาคือใคร
  ...ทาส... ตอนที่ 2
  ...ทาส... ตอนที่ 1
  เผยอะกีดะห์กลุ่มดะอ์วะห์ ตอนที่ 2
  เผยอะกีดะห์กลุ่มดะอ์วะห์ ตอนที่ 1

[ดูเรื่องทั้งหมด]

เหมือนหรือต่าง

ภาพเปรียบเทียบระหว่างพิธีการทรมานตนเองของชาวชีอะฮ์ อิหม่าม 12 ในวันที่ 10 มุฮัรรอมของทุกปี กับม้าทรงของศาลเจ้าสามกอง ในงานประจำปี จ.ภูเก็ต


ชีอะฮ์อิหม่ามสิบสอง

ม้าทรงศาลเจ้าสามกอง

ชีอะฮ์อิหม่ามสิบสอง

ม้าทรงศาลเจ้าสามกอง

ชีอะฮ์อิหม่ามสิบสอง


เวบลิ้งค์

มรดกอิสลาม
อัซซุนนะห์
ซุนนะห์ไซเบอร์
ชมรมวะรอซะตุซซุนนะฮฺ แนวร่วมมุสลิมต่อต้านรอฟิเฏาะ - ร่วมต่อต้านวันนี้ หรือจะรอให้สายเกินไป



ตอนที่ 14 นักวิชาการฮะดีษในยุคที่สาม




ยุคนี้เป็นยุคที่มีการตื่นตัวในเรื่องฮะดีษเป็นอย่างมาก มีการตรวจสอบที่มาที่ไปของฮะดีษอย่างละเอียดถี่ถ้วน ก่อนที่จะนำมาบันทึกเป็นสัดส่วน นักวิชาการฮะดีษในยุคนี้มีบทบาทโดดเด่นหลายท่าน เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในหมู่ผู้ศึกษาวิชาฮะดีษ ซึ่งจะนำมากล่าวเป็นสังเขปดังนี้


ท่านอิบนุกุตัยบะห์

เกิดในปีที่ 213 และเสียชีวิตในปีที่ 270 ฮิจเราะห์ศักราช ชื่อเสียงของท่านเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ประสานฮะดีษ คือการเอาฮะดีษศอเฮียะห์ ที่ดูผิวเผินแล้วมีความหมายขัดกัน นำมาประสานเพื่อสร้างความเข้าใจในฮะดีษทั้งสอง นอกจากนี้แล้วท่านยังมีบทบาทโดดเด่นในการปกป้องซุนนะห์ของท่านรอซูล อีกทั้งคอยตอบโต้ผู้ที่ทำลายอิสลามด้วยวิธีการต่างๆ
หนังสือที่ท่านเรียบเรียงขึ้นมีหลายชุด แต่เป็นที่รู้จักกันมากในวงการฮะดีษก็คือหนังสือ “ตะอ์วีลลุ้ลมุคตะลิฟ อัลอะฮาดีษ”

ท่านอิหม่ามอะห์หมัด

เชื้อสายของท่านอิหม่ามผู้นี้ไปบรรจบกับท่านรอซูลในลำดับปู่ที่ชื่อ อัดนาน ท่านเกิดที่นคร บัคดาด ในเดือนรอบีอุ้ลเอาวัล ปีที่ 164 ฮิจเราะห์ศักราช และได้เริ่มต้นศึกษาวิชาฮะดีษ ณ.ที่กรุงแบคดาด และหลังจากนั้นก็ได้เดินทางไปศึกษาต่ออีกหลายสถานที่ โดยเฉพาะได้ร่ำเรียนวิชาการจากท่านอิหม่ามซาฟีอี จนกระทั่งได้กลายเป็นนักวิชาการฮะดีษและนักฟิกฮ์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังคนหนึ่ง ซึ่งรู้จักกันในนาม อิหม่ามอะห์หมัด อิบนุฮัมบัล เจ้าของมัซฮับอัมบาลี นั่นเอง

ส่วนในด้านวิชาการฮะดีษนั้น ท่านได้รวบรวมตำราฮะดีษไว้ มีชื่อว่า มุสนัดอิหม่ามอะห์หมัด ซึ่งนักวิชาการฮะดีษในยุคหลังๆ ก็มักจะใช้เป็นแหล่งอ้างอิงเสมอ ท่านอิหม่ามอะห์หมัดมีอุดมการณ์ในการรับและบันทึกฮะดีษของท่านว่า

1 – เพื่อให้ประชาชนในแว่นแคว้นต่างๆ ได้รับรู้ฮะดีษของท่านรอซูลโดยทั่วกัน
2 – เพื่อปกป้องซุนนะห์ของท่านนบีในการถูกแทรกแซง ซึ่งในยุคนั้นมีการปลอมปนฮะดีษกันเป็นจำนวนมาก เพราะฉะนั้นท่านจึงต้องเดินทางไปสืบฮะดีษถึงแหล่งที่มาด้วยตัวเอง แล้วนำมาบันทึกไว้

และจากการเอาใจใส่ในรายละเอียดของฮะดีษนี่เอง ทำให้นักวิชาการฮะดีษอีกหลายท่านได้นำเอาฮะดีษที่ท่านบันทึกไว้ไปรายงานต่ออีกทอดหนึ่ง เช่น ท่านอิหม่ามบุคคอรี, ท่านอิหม่ามมุสลิม, อบูดาวูด, ติรมีซีย์ และอิบนุมาญะห์ เป็นต้น









สงวนลิขสิทธิ์โดย © อ.ฟารีด เฟ็นดี้ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2006-07-18 (1758 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]